ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ D HOUSE GROUP รวมสัมนาธุรกิจและ ผลงาน ดร.สมัย ฯ

โครงการนิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน ( จ.หนองคาย จ.ขอนแก่น จ.ลำพูน เพชรบูรณ์ โมเดล ) ที่มาของโครงการ แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย ปี 2566-2568 1. สรณอัฐ สุทธาสุทธินันท์ Sirana-ut Sootthasootthinun ประธานกรรมการบริหาร 2. ศุภกร. เล็กยิ้ม Supakorn Lekyim ที่ปรึกษาโรงการ 3. ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี Dr.Chayanat Sangmanee ประธานโครงการ ภาพรวมแนวโน้มอุตสาหกรรมไทยในระยะ 3 ปีข้างหน้าจะพิจารณาครอบคลุมทั้งปัจจัยด้านความท้าทายและโอกาสที่สะท้อนความน่าสนใจ (Attractiveness) ในการทำธุรกิจของแต่ละอุตสาหกรรม ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหาภาค และปัจจัยภายในเฉพาะด้านของอุตสาหกรรมนั้น เนื่องจาก บริษัท บิ๊กดีล เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด(นโยบายประชารัฐ ภาคเอกชน) ไทยเพิ่มสุข โดย กระผม ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี กรรมการผู้จัดการลงนามของบริษัทฯ ได้จัดทำ โครงการนิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน เพื่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมSME Thailand (NEW MOF อ.ต.ก.นิวส์) ประชารัฐ ภาคเอกชน ) เพื่อระบบอุตสาหกรรม SME และเกษตรกรเพื่องานอาหารผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสและประชาชนคนไทยทุกคนและ เพื่อ การวางแผน อาหาร การสร้างความมั่งคงและการอยู่อาศัยสนับสนุน โดย นโยบาย รัฐบาล กระทรวงอุตสาหกรรม,กระทรวงพานิชฯ กระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่นี้ดำเนินโครงการตามวิธีการให้ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนี้ ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่การแข่งขั้นทางการตลาดด้างการเกษตรที่สูงในภูมิภาค EEC และประชากรไทยได้เข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้ผู้สูงอายุ ต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน ทั้งในด้าน 1.อาหารของประชากรที่สูงวัย 2.ที่พักอาศัยของประชากรที่สูงวัย 3.สังคมและวัฒนธรรมของผู้สูงวัย 4.รายได้ของประชากรผู้สูงวัย 5.ความมั่งคงของชีวิตประชากรผู้สูงวัย 6.สุขภาพที่ดีของประชากรผู้สูงวัย อีกจำนวนมาก ความคิด ความเข้าใจและค่านิยม ต่างๆประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในด้านภูมิ ความรู้ ภูมิธรรม ภูมิปัญญา สมควรส่งเสริมให้เป็นทรัพยากรที่เข้มแข็งและมีคุณค่าให้ยาวนานที่สุด โดยนำจุดแข็งนี้ มาสร้างโอกาสในการพัฒนาสังคม กิจกรรมที่เป็นประโยชน์นี้จะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีความสุขได้บริหารกาย จิต สังคม เป็นบุคคลที่พัฒนาไปตามกาลสมัยพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงพึ่งตนเองได้และสามารถเป็นพลังให้การพึ่งพา แก่ชุมชนและสังคม ซึ่งปัจจุบันทั่วประเทศมีผู้สูงอายุที่เป็นภูมิปัญญาและมีชมรมคลังปัญญาผู้สูงอายุ ซึ่ง ประกอบด้วยสมาชิกผู้สูงอายุ ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้มีความรู้และมีจิตอาสาพร้อมจะถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม แต่ขาดโอกาส ขาดพื้นที่ในสังคม ขาดงบประมาณ และช่องทางในการเผยแพร่ ภูมิ ปัญญา ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ประธานกรรมการ บริษัท บิ๊กดีล เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้างและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ และปัจจุบันได้ดำเนินการอยู่นั้น มีผู้ร่วมทุนและมีงบประมาณที่มีจำนวนมากพอที่จะ ขยายกิจการมาทำธุรกิจการตลาดเพื่อสมาชิกสหกรณ์ตลอดจนประชาชนที่สนใจในการค้าขายใน โครงการนิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน (ประชารัฐ อ.ต.ก. ภาคเอกชน ) นโยบายการบริการและการบริหาร อย่างองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.นิวส์) ประชารัฐ ภาคเอกชน ) บริหารการโครงการและพัฒนาธุรกิจ โดย ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี ซึ่งมีความประสงค์ที่จะก่อตั้ง โครงการนิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน (อ.ต.ก.นิวส์ ) ประชารัฐ ภาคเอกชน เพื่อสมาชิกของโครงการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ของโครงการที่คล้ายกันและเพื่อประชาชนคนไทยทุกคนได้ผลประโยชน์จากโครงการด้วยกันทั้งสิ้น เช่น -โครงการ สร้างงานสร้างอาชีพให้กับสมาชิก เพื่อความอยู่รอยและมั่นคง ให้กับสมาชิก -โครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้ และรักษาวัฒนธรรมประเพณี ให้กับสมาชิก -โครงการ จัดหาและประกอบอาหารตลอดจนเครื่องอุประโภคและบริโภค ให้กับสมาชิก -โครงการ ส่งเสริมเกษตรกรผลินสินค้าปลอดสารพิษ เพื่อสมาชิก โครงการ ผู้สูงอายุ -โครงการ ขนส่งและบริการจัดหาสินค้าเพื่อสมาชิกโครงการ ผู้สูงอายุ -โครงการ แพลตฟอร์ม ดิจิตอล และสถาบันการเงิน เพื่อสมาชิกของ โครงการผู้สูงอายุ -โครงการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวทั่วไทยเชิงวัฒนธรรม การบริโภค ของสมาชิก -โครงการ ส่งเสริมการลงทุน จัดทำอุสาหกรรม สินค้าอุประโภคและบริโภค เพื่อผู้สูงวัย จึงเขียนโครงการนิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน (อ.ต.ก.) ประชารัฐ ภาคเอกชน ) เพื่อลงทุนในกิจการของรัฐ ตาม พ.รบ.ส่งเสริมการลงทุน ปี 2562 และได้ร่วมประชุม ศึกษาหาแนวทางการลงทุนและขอสนับนุการลงทุนในกิจการของภาครัฐ 2567 ต่อ หน่วยงานของรัฐ ผ่าน องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) จังหวัด นนทบุรี ผ่านท่าน ผู้ว่าราชการจังหวัด นนทบุรี เพื่อขอรับการสนับสนุน นโยบายการทำงานและขอรับการสนับสนุนนโยบายโครงการ ในเวลานี้ ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหาภาค (Macroeconomic environments) โครงการ นิคมอุตสาหกรรม ฮับโลจิสติกส์และพลังงานไฟฟ้าทดแทน ในการจัดทำโครงการ เศรษฐกิจโลกปี 2566-2568: ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป • เศรษฐกิจโลกในระยะ 3 ปีข้างหน้ามีแนวโน้มขยายตัวเฉลี่ย 4% ต่อปี หลังจากที่อัตราการเติบโตอยู่ในระดับสูงในปี 2564 ที่ 5.9% จากมาตรการกระตุ้นขนาดใหญ่และการเปิดเมืองของประเทศชั้นนำของโลก แนวโน้มเศรษฐกิจยังฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป (ภาพที่ 1) ปัจจัยสนับสนุนมาจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน ทั้งการฟื้นตัวในภาคบริการและการขยายตัวต่อเนื่องในภาคการผลิต อันเป็นผลจากการฉีดวัคซีนที่แพร่หลายมากขึ้น การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด และการทยอยเปิดเมืองในหลายประเทศ รวมถึงมาตรการการเงินการคลังที่ยังเอื้อต่อการเติบโตแม้จะทยอยลดลงจากช่วงวิกฤต อย่างไรก็ดี ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนยังคงมีอยู่ อาทิ การกลายพันธุ์ของ COVID-19 ประสิทธิภาพของวัคซีน และภาวะคอขวดของอุปะทานภาคการผลิตที่อาจยืดเยื้อไปจนถึงปี 2565 นอกจากนี้ การปรับนโยบายการเงินให้เป็นปกติ (Policy normalization) โดยการทยอยขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อ จะส่งผลให้ต้นทุนการดำเนินธุรกิจเพิ่มขึ้นในระยะต่อไป • เศรษฐกิจสหรัฐฯคาดว่าจะขยายตัวเฉลี่ย 3.0% ต่อปี เทียบกับที่เติบโต 6.0% ในปี 2564 แม้อัตราการเติบโตจะชะลอลงภายหลังผลบวกจากแรงกระตุ้นทางการเงินการคลังและการเปิดเมืองเริ่มเพลาลง แต่เศรษฐกิจยังมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง ปัจจัยบวกจากการฟื้นตัวอย่างชัดเจนของตลาดแรงงาน สะท้อนจากอัตราการว่างงานลดลงสู่ระดับ 4.2% ในเดือนพฤศจิกายน จาก 14.8% ในเดือนเมษายน 2563 ส่งผลให้รายได้และการใช้จ่ายของผู้บริโภคปรับดีขึ้น สำหรับภาคธุรกิจเริ่มขยายการลงทุนตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงแผนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานมูลค่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ในช่วงปี 2565-2572 นอกจากนี้ การกำหนดอัตราภาษีนิติบุคคลขั้นต่ำทั่วโลก (Global minimum tax) ซึ่งจะนำมาใช้ในปี 2566 อาจทำให้เกิดการ reshoring กลับสู่สำนักงานใหญ่ในสหรัฐฯ มากขึ้น ส่วนความขัดแย้งกับจีนคาดว่ายังมีต่อเนื่อง แต่การหากลุ่มพันธมิตรทางธุรกิจจะเข้มข้นขึ้นผ่านโครงการ Build Back Better World ของสหรัฐฯ เพื่อแข่งขันกับ Belt and Road Initiative ของจีน ซึ่งอาจเกิดการแบ่งกลุ่มของห่วงโซ่มูลค่าระหว่างสหรัฐฯ และจีนที่ชัดเจนมากขึ้น สำหรับทิศทางนโยบายการเงิน เฟดเริ่มปรับลดการผ่อนคลายทางการเงินผ่าน QE ตั้งแต่ปลายปี 2564 และมีแนวโน้มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในปี 2565 อย่างไรก็ดี จาก Dot Plots ของเฟดชี้ให้เห็นว่าดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ในปี 2567 จะยังคงต่ำกว่าระดับที่เฟดคาดการณ์ในระยะข้างหน้า (Longer run) ที่ 2.5% ซึ่งสะท้อนนโยบายการเงินที่ยังเอื้อต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ • เศรษฐกิจยูโรโซนคาดว่าจะขยายตัวเฉลี่ย 2.6% ต่อปี เทียบกับที่ขยายตัว 5.0% ในปี 2564 แรงหนุนสำคัญจากการบริโภค การลงทุน และการท่องเที่ยว ด้านการบริโภคมีแนวโน้มเติบโตตามการฟื้นตัวของตลาดแรงงานและกำลังซื้อจากเงินออมที่สะสมไว้ในช่วง COVID-19 แพร่ระบาด ส่วนการลงทุนมีเงินช่วยเหลือจาก EU Recovery Fund ที่ทยอยเบิกจ่ายและเป็นหนึ่งในแผนการลงทุนของหลายประเทศซึ่งเน้นการสร้างงาน โครงการดังกล่าวคาดว่าช่วยกระตุ้น GDP ได้ราว 0.7-1.0% ต่อปี ขณะที่ภาคท่องเที่ยวมีแนวโน้มปรับดีขึ้นซึ่งจะช่วยหนุนเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศตอนใต้ เช่น อิตาลี สเปน ฝรั่งเศส นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับต่ำอย่างน้อยจนถึงสิ้นปี 2565 ประกอบกับมาตรการผ่อนคลายทางการเงินที่ยังช่วยเสริมสภาพคล่องต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าจะไม่มากเหมือนช่วงวิกฤตโควิดหลังจากการเข้าซื้อพันธบัตรภายใต้โครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) วงเงิน 1.35 ล้านล้านยูโร มีแนวโน้มหมดลงในช่วงต้นปี 2565 สำหรับประเด็นที่อาจกดดันเศรษฐกิจยูโรโซน ได้แก่ การขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ที่กระทบต่อภาคการผลิตและการส่งออกแม้อาจคลายลงบ้างในช่วงครึ่งหลังของปี 2565 การกลับมากำหนดกฎระเบียบด้านการคลังในช่วงปี 2566 โดยกำหนดเพดานหนี้ไม่เกิน 60% ของ GDP และการขาดดุลการคลังไม่เกิน 3% ของ GDP อาจจำกัดแผนลงทุนเพิ่มเติมของรัฐบาลในประเทศที่มีปัญหาภาคการคลัง สำหรับแนวคิดด้านเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เร่งตัวขึ้นทั่วโลกโดยเฉพาะในยุโรป ทำให้เกิดการรณรงค์ใช้พลังงานสะอาดที่ยังผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการและลดการลงทุนในพลังงานฟอสซิล เมื่อประกอบกับการทยอยเปิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาจส่งผลต่อการขาดแคลนพลังงานและเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นในระยะสั้น • เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแนวโน้มขยายตัวเฉลี่ย 1.8% ต่อปี จากที่เติบโต 2.4% ในปี 2564 ปัจจัยหนุนจาก (1) การส่งออกสินค้ามีแนวโน้มขยายตัวตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการค้าโลก (2) การขยายการลงทุน เพื่อรองรับการขยายตัวของการส่งออกและการลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อรับมือกับปัญหาขาดแคลนแรงงานในอนาคต ส่วนธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคท่องเที่ยวจะทยอยฟื้นตัวจากอานิสงส์ของมาตรการ “Go To Travel” และการเริ่มทยอยเปิดประเทศ (3) การบริโภคภาคครัวเรือนมีแนวโน้มปรับดีขึ้น จากตลาดแรงงานที่แข็งแกร่งขึ้น สะท้อนจากอัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ำที่ 2.8% ในเดือนตุลาคม 2564 และ (4) มาตรการกระตุ้นอื่นๆ อาทิ งบประมาณเพิ่มเติม 30 ล้านล้านเยน หรือราว 5.6% ต่อ GDP เพื่อเยียวยาผลกระทบของ COVID-19 และฟื้นฟูเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันรัฐบาลยังผลักดันแนวคิด “ทุนนิยมใหม่ (New Capitalism)” ที่มุ่งกระจายการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม เช่น การเก็บภาษีจากกลุ่มผู้มีรายได้สูง การปรับเพิ่มค่าจ้าง และการส่งเสริมการลงทุนในส่วนภูมิภาค ด้านธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) มีแนวโน้มดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อเนื่องทั้งอัตราดอกเบี้ยติดลบ การควบคุมเส้นอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล และการผ่อนคลายเชิงปริมาณ ทั้งนี้ การฟื้นตัวยังคงเป็นไปอย่างช้าๆ สะท้อนจากอัตราการออมของครัวเรือนยังอยู่ในระดับสูงท่ามกลางความเสี่ยงจาก Deflationary mindset ที่ส่งผลให้การใช้จ่ายในประเทศยังเป็นไปอย่างระมัดระวังและมีแนวโน้มเติบโตต่ำ • เศรษฐกิจจีนคาดว่าจะขยายตัวเฉลี่ย 5.4% ต่อปี ชะลอลงจาก 8.0% ในปี 2564 ปัจจัยที่ส่งผลกดดันเศรษฐกิจมาจากการที่รัฐบาลเริ่มหันมาให้ความสำคัญกับการเติบโตในระยะยาว โดยเพิ่มความเข้มงวดกับภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเก็งกำไรและการผูกขาด รวมถึงภาค

เปิดโปงบ่อน้ำมันในไทย 4-4 ตอนที่ 1 - YouTube

www.youtube.com/watch?v...แบ่งปัน
แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
9 ก.ย. 2012 - 14 นาที - อัปโหลดโดย utdsportในชีวิตจะชอบได้ยินเสมอว่าเรามีมีน้ำมันในประเทศเราแต่มีน้อยมาก แต่เปิดโปงครั้งนี้ มีการ อ้างอิงที่มาที่ไปว่า ไทยมีเยอะมาก ติดอันดับต้นๆของโลกที่ค้าน้ำมันให้กับ... ... 1-4 ตอนที่1 by nook nantv60 views; สำรวจและขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทย 8:13 ...

  • เปิดโปงบ่อน้ำมันในไทย 3-4 ตอนที่ 1 - YouTube

    www.youtube.com/watch?v...แบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    9 ก.ย. 2012 - 15 นาที - อัปโหลดโดย utdsportในชีวิตจะชอบได้ยินเสมอว่าเรามีมีน้ำมันในประเทศเราแต่มีน้อยมาก แต่เปิดโปงครั้งนี้ ... Watch Later สำรวจและขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทยby itsaraable186 views ...
  • เปิดโปงบ่อน้ำมันในไทย 2-4 ตอนที่1 - YouTube

    www.youtube.com/watch?v...แบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    9 ก.ย. 2012 - 15 นาที - อัปโหลดโดย utdsportในชีวิตจะชอบได้ยินเสมอว่าเรามีมีน้ำมันในประเทศเราแต่มีน้อยมาก แต่เปิดโปงครั้งนี้ มีการ อ้างอิงที่มาที่ไปว่า ไทยมีเยอะมาก ติดอันดับต้นๆของโลกที่ค้าน้ำมันให้กับ... ... Prayat Parakarn1,000 views; สำรวจและขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทย 8:13 ...
  • เปิดโปงบ่อน้ำมันในไทย 1-4 ตอนที่1 - YouTube

    www.youtube.com/watch?v...แบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    9 ก.ย. 2012 - 15 นาที - อัปโหลดโดย utdsportในชีวิตจะชอบได้ยินเสมอว่าเรามีมีน้ำมันในประเทศเราแต่มีน้อยมาก แต่เปิดโปงครั้งนี้ มีการ อ้างอิงที่มาที่ไปว่า ไทยมีเยอะมาก ติดอันดับต้นๆของโลกที่ค้าน้ำมันให้กับ.
  • เขมรจะเริ่มผลิตน้ำมัน - ข่าวไทยรัฐออนไลน์

    www.thairath.co.th/column/pol/thai_remark/296860 - แคชแบ่งปัน
    แบ่งปันใน Google+ แล้ว ดูโพสต์
    9 ต.ค. 2012 – เชฟรอน ขุดพบบ่อน้ำมันนอกชายฝั่งกัมพูชาในบล็อกเอ ... วันนี้ ก๊าซในอ่าวไทย เหลือพอใช้ ( อย่างฟุ่มเฟือยและราคาถูก) ได้เพียง 7–8 ปีเท่านั้น หมดแล้วก็ต้อง
  • ความคิดเห็น